คำนวณหามวลของสารจากปฏิกิริยาโดยใช้กฎทรงมวล
นิยามกฎทรงมวล
ในปี ค.ศ. 1774 ลาวัวซิเอร์ นักเคมีชาวฝรั่งเศส ได้ทำการทดลองเผาเมอร์คิวรี (II) ออกไซด์ (HgO)
ซึ่งเป็นของแข็งในภาชนะปิด
พบว่าได้ปรอทและแก๊สออกซิเจน จากการศึกษา
“มวลของ HgO เท่ากับผลบวกของ Hg กับ O2” จึงได้สรุปเป็นกฎทรงมวลว่า
“ในปฏิกิริยาเคมีใดๆ มวลของสารทั้งหมดก่อนทำปฏิกิริยาเท่ากับมวลของสารทั้งหมดหลังทำปฏิกิริยา”
ตัวอย่าง ( 1 ) ปฏิกิริยา A + B ---> C + D
ตามกฎทรงมวลจะได้ว่า (มวลของ A) + (มวลของ B) = (มวลของ C) + (มวลของ D)
( 2 ) ปฏิกิริยา 2Mg + O2 ---> 2MgO
ตามกฎทรงมวลได้ว่า (มวลของ Mg) + (มวลของ O2) = (มวลของ MgO)
ดังนั้น ในทางปฏิบัติ ข้อมูลจะเป็นไปตามกฎทรงมวลได้ต้องทำการทดลองในระบบปิดเท่านั้น
ในกรณีที่มีแก๊สเกี่ยวข้องในระบบด้วยนั้นจะต้องทำการทดลองในภาชนะปิดฝา จึงจะได้ผลตามกฎทรงมวล
ในปี ค.ศ. 1774 ลาวัวซิเอร์ นักเคมีชาวฝรั่งเศส ได้ทำการทดลองเผาเมอร์คิวรี (II) ออกไซด์ (HgO)
ซึ่งเป็นของแข็งในภาชนะปิด
พบว่าได้ปรอทและแก๊สออกซิเจน จากการศึกษา
“มวลของ HgO เท่ากับผลบวกของ Hg กับ O2” จึงได้สรุปเป็นกฎทรงมวลว่า
“ในปฏิกิริยาเคมีใดๆ มวลของสารทั้งหมดก่อนทำปฏิกิริยาเท่ากับมวลของสารทั้งหมดหลังทำปฏิกิริยา”
ตัวอย่าง ( 1 ) ปฏิกิริยา A + B ---> C + D
ตามกฎทรงมวลจะได้ว่า (มวลของ A) + (มวลของ B) = (มวลของ C) + (มวลของ D)
( 2 ) ปฏิกิริยา 2Mg + O2 ---> 2MgO
ตามกฎทรงมวลได้ว่า (มวลของ Mg) + (มวลของ O2) = (มวลของ MgO)
ดังนั้น ในทางปฏิบัติ ข้อมูลจะเป็นไปตามกฎทรงมวลได้ต้องทำการทดลองในระบบปิดเท่านั้น
ในกรณีที่มีแก๊สเกี่ยวข้องในระบบด้วยนั้นจะต้องทำการทดลองในภาชนะปิดฝา จึงจะได้ผลตามกฎทรงมวล